เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น
วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลา
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
Mind mapping (สาระการเรียนรู้)
- ครู
ภูมิหลัง : คณิตศาสตร์ในระดับชั้น ป.5 ปีนี้ เริ่มต้นในQuarter 4/59 นี้ เป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียนด้วยเรื่องทบทวนทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ โดยไล่เรียงผ่านเกมการคิด กิจกรรมที่สร้างการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์ โดยใช้สื่อที่หลากหลาย คำถามกระตุ้นเร้าให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มความสามารถ เพื่อที่ครูผู้สอนจะได้ทราบถึงฐานความรู้เดิมของผู้เรียนแต่ละคน (Met before) ซึ่งจำเป็นมา ต่อมาจึงให้พี่ๆ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเศษส่วนกับทศนิยม การดำเนินการระหว่างเศษส่วน/ทศนิยมกับจำนวนเต็ม และในหนึ่งสัปดาห์คุณครูจะได้ร่วมทำLesson study ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้น ป.5 Quarterนี้
เป้าหมายความเข้าใจ : เพื่อปูพื้นฐานเรียนเศษส่วนและทศนิยมที่มีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นให้กับผู้เรียน และเพื่อฝึกการพัฒนาสมองของผู้เรียนผ่านกิจกรรมฝึกทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์ และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ปฏิทินการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์
ระดับชั้น ป.5 Quarter 4 ปีการศึกษา 2559
-การดำเนินการ
-รูปทรงเรขาคณิตกับธรรมชาติ
-มุุมภายใน
- เส้นขนาน/ ไม่ขนาน
- โจทย์ปัญหาพีชคณิต
- กราฟ/แผนภูมิ
.......................
- โจทย์ปัญหาพีชคณิต
- กราฟ/แผนภูมิ
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
1
|
โจทย์
ทบทบกิจกรรม
-รูปทรงเรขาคณิตกับธรรมชาติ
-ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
คำถาม
-นักเรียนคิดว่ารูปทรงเรขาคณิต สัมพันธ์กับรูปทรงต่างๆของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติอย่างไร
- นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องใดบ้างในรายวิชาคณิตฯ
และเรื่องใดบ้างที่พี่ๆสนใจอยากเรียนรู้
- เรื่องใดบ้างพี่ๆ อยากทำความเข้าใจเพิ่มเติมในการเรียนรู้ในQuarterนี้
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดเกม
-ธรรมชาติรอบๆอาคารเรียน
- ภาพรูปเรขาคณิตต่างๆ
ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์หาคำตอบ
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ออกแบบภาพ 2 และ 3 มิติ ตามจินตนาการ
และวาดลงในกระดาษ A4
- **แบ่งกลุ่ม ประดิษฐ์เครื่องบินจากแผ่นกระดาษจำลอง **
- ออกสำรวจธรรมชาติรอบๆอาคารเรียนและเก็บ
กิ่งใหม่ ใบไม้ หรือรูปทรงต่างๆในธรรมชาติที่สนใจ มาวาดรูป
พร้อมวัดขนาดสัดส่วนต่างๆที่เกิดขึ้นและระบุลงในภาพ
- นำเสนอภาพเรขาคณิตของตนเอง
- ครูและนักเรียนร่วมพิจารณา
รูปเรขาคณิตที่เกิดขึ้น
-ครูวาดภาพเรขาคณิตต่างๆ
และขีดเส้นตารางหน่วย
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าแต่ละภาพมีกี่ตารางหน่วย?”
- ครูวาดภาพรูปทรงเรขาคณิตต่างๆทั้งที่มีตารางหน่วยแน่นอนและไม่แน่นอนให้พี่
ร่วมนับและแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนแต่ละคนร่วมแสดงความคิดเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ลงในสมุดบันทึก
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องใดบ้างในรายวิชาคณิตฯ
และเรื่องใดบ้างที่พี่ๆสนใจอยากเรียนรู้ ”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“เรื่องใดบ้างพี่ๆ อยากทำความเข้าใจเพิ่มเติมในการเรียนรู้ในQuarterนี้”
*นักเรียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนรู้ ในQ.4/59
|
|
ความรู้
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของรูปทรงเรขาคณิต
กับรูปทรงที่ปรากฏในธรรมชาติได้
- นักเรียนทบทวนความเข้าใจในการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ใคร่ครวญกับสิ่งที่แต่ละคนอยากเรียนรู้เพิ่มเติม
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, และ
ป.5/6
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2-3
|
โจทย์ :
- การหาพื้นที่เรขาคณิต
2 มิติและหน่วยพื้นที่
- เสริมทักษะการสร้างรูปเรขาคณิตต่างๆด้วยสื่ออื่นๆ
เครื่องมือคิด
- Blackboards
share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-ใบงาน เกี่ยวกับการสร้างรูปเรขาคณิตและการหาพื้นที่เป็นตารางหน่วยร่วมทั้งการหาพื้นที่โดยใช้ความสัมพันธ์ของรูปร่างต่างๆ
- ภาพรูปเรขาคณิตต่างๆ
ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์ภาพปริศนา
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ทบทวนการหาพื้นที่โดยใช้ตารางหน่วยในการบอกผล
- ร่วมทดลองหาพื้นที่ของรูปต่างๆ
ตามความเข้าใจเดิมที่มีอยู่และอภิปรายร่วมกัน
- แจกใบงานให้นักเรียนแต่ละคนซึ่งเกี่ยวกับการสร้างรูปเรขาคณิตและการหาพื้นที่เป็นตารางหน่วยร่วมทั้งการหาพื้นที่โดยใช้ความสัมพันธ์ของรูปร่างต่างๆให้นักเรียนแต่ละคน ทบทวนความเข้าใจพื้นฐาน
- *แบ่งกลุ่ม ประดิษฐ์เครื่องบินจากแผ่นกระดาษจำลอง **
-ออกแบบรูปเรขาคณิตด้วยวงเวียนเป็นรูปต่างๆเช่น
สีเหลี่ยมขนมเปียกปูน
สามเหลี่ยมด้านเท่า
สามเหลี่ยมมุมฉาก
การแบ่งมุมด้วยวงเวียน ฯลฯ
- หาพื้นที่ร่วมเฉลยคำตอบและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับโจทย์แต่ละข้อ
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- ทบทวนการหาพื้นที่โดยใช้ตารางหน่วยในการบอกผล
- วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต
และทดลองหาพื้นที่ของรูปต่างๆ ตามความเข้าใจเดิมที่มีอยู่และอภิปรายร่วมกัน
- ออกแบบรูปเรขาคณิตด้วยวงเวียนเป็นรูปต่างๆเช่น
สีเหลี่ยมขนมเปียกปูน
สามเหลี่ยมด้านเท่า
สามเหลี่ยมมุมฉาก การแบ่งมุมด้วยวงเวียน
ฯลฯ
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- ภาพวาดรูปเรขาคณิต
จากวงเวียน
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายการหาพื้นที่รูปเรขาคณิต
2 มิติ แบบต่างๆ โดยใช้ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิตพื้นฐาน
นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด
วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและฟังก์ชัน: ตัวชี้วัด ป.5/2
, ป.5/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต
และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ
(spatial
reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต
(geometric
model) ในการแก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.5/3ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, และ ป.5/6 |
....................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4-5
|
โจทย์
- การหาพื้นที่เรขาคณิต
2 มิติและหน่วยพื้นที่
คำถาม
- นักเรียนสามารถนำความสัมพันธ์ของ
รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และสี่เหลี่ยมจัตุรัสมาช่วยหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมใดๆ ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Blackboards
share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดรูปร่างเรขาคณิต(ภาพวงกลม)
- ไม้บรรทัด(ขนาดต่างๆ)
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมการคิด
- นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด
พร้อมกับอธิบายวิธีคิดต่อครูและเพื่อนๆ
-ร่วมทบทวนการหาพื้นที่โดยใช้ตารางหน่วยในการบอกผล
- ร่วมทดลองหาพื้นที่ของรูปต่างๆ
ตามความเข้าใจเดิมที่มีอยู่และอภิปรายร่วมกัน
- แจกใบงานให้นักเรียนแต่ละคนซึ่งเกี่ยวกับการสร้างรูปเรขาคณิตและการหาพื้นที่ที่โดยใช้ความสัมพันธ์ของรูปร่างต่างๆให้นักเรียนแต่ละคน ทบทวนความเข้าใจพื้นฐาน
-**ออกแบบเกมรูปแบบต่างๆตามจินตนาการ**
- ครูวาดภาพสามเหลี่ยม และสี่เหลี่ยม รูปแบบต่างๆ
บนบอร์ด ประกอบด้วย สามเหลี่ยมมุมฉาก สี่เหลี่ยมรูปว่าว สามเหลี่ยม 2 รูปติดกัน ฯลฯ
- ร่วมกันแสดงวิธีคิดตมความเข้าใจของตนเองและสรุปลงในกระดาษ
A4
- หาพื้นที่ร่วมเฉลยคำตอบและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับโจทย์แต่ละข้อ
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาคำทาย
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต
และหาพื้นที่ของรูปต่างๆ พร้อมนำเสนอและอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายการหาพื้นที่รูปเรขาคณิต 2 มิติ
แบบต่างๆโดยใช้ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิตพื้นฐานได้
นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน
: ตัวชี้วัด ป.5/1 , ป.5/2
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.5/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization)
เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial
reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric
model) ในการแก้ปัญหา
: ตัวชี้วัด ป.5/3
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ
และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ
ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.5/1
, ป.5/2
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล
: ตัวชี้วัด ป.5/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, และ ป.5/6 |
.....................
..........
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6-7
|
โจทย์
- การหาพื้นที่เรขาคณิต 2 มิติและหน่วยพื้นที่
คำถาม
- นักเรียนสามารถนำความสัมพันธ์ของ รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และสี่เหลี่ยมจัตุรัสมาช่วยหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมใดๆ ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดรูปร่างเรขาคณิต(ภาพวงกลม)
- ไม้บรรทัด(ขนาดต่างๆ)
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมการคิด
- นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด พร้อมกับอธิบายวิธีคิดต่อครูและเพื่อนๆ
-ร่วมทบทวนการหาพื้นที่โดยใช้ตารางหน่วยในการบอกผล
- ร่วมทดลองหาพื้นที่ของรูปต่างๆ ตามความเข้าใจเดิมที่มีอยู่และอภิปรายร่วมกัน
- แจกใบงานให้นักเรียนแต่ละคนซึ่งเกี่ยวกับการสร้างรูปเรขาคณิตและการหาพื้นที่ที่โดยใช้ความสัมพันธ์ของรูปร่างต่างๆให้นักเรียนแต่ละคน ทบทวนความเข้าใจพื้นฐาน
-**ออกแบบเกมรูปแบบต่างๆตามจินตนาการ**
- ครูวาดภาพสามเหลี่ยม และสี่เหลี่ยม รูปแบบต่างๆ บนบอร์ด ประกอบด้วย สามเหลี่ยมมุมฉาก สี่เหลี่ยมรูปว่าว สามเหลี่ยม 2 รูปติดกัน ฯลฯ
- ร่วมกันแสดงวิธีคิดตมความเข้าใจของตนเองและสรุปลงในกระดาษ A4
- หาพื้นที่ร่วมเฉลยคำตอบและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับโจทย์แต่ละข้อ
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาคำทาย
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต และหาพื้นที่ของรูปต่างๆ พร้อมนำเสนอและอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายการหาพื้นที่รูปเรขาคณิต 2 มิติ แบบต่างๆโดยใช้ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิตพื้นฐานได้
นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน : ตัวชี้วัด ป.5/1 , ป.5/2
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.5/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.5/3
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.5/1 , ป.5/2
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล : ตัวชี้วัด ป.5/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, และ ป.5/6 |
........
.........................
...................
...............
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8-9
|
โจทย์
- การหาพื้นที่เรขาคณิต 2 มิติและหน่วยพื้นที่
คำถาม
- นักเรียนสามารถนำความสัมพันธ์ของ รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และสี่เหลี่ยมจัตุรัสมาช่วยหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมใดๆ ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดรูปร่างเรขาคณิต(ภาพวงกลม)
- ไม้บรรทัด(ขนาดต่างๆ)
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมการคิด
- นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด พร้อมกับอธิบายวิธีคิดต่อครูและเพื่อนๆ
-ร่วมทบทวนการหาพื้นที่โดยใช้ตารางหน่วยในการบอกผล
- ร่วมทดลองหาพื้นที่ของรูปต่างๆ ตามความเข้าใจเดิมที่มีอยู่และอภิปรายร่วมกัน
- แจกใบงานให้นักเรียนแต่ละคนซึ่งเกี่ยวกับการสร้างรูปเรขาคณิตและการหาพื้นที่ที่โดยใช้ความสัมพันธ์ของรูปร่างต่างๆให้นักเรียนแต่ละคน ทบทวนความเข้าใจพื้นฐาน
-**ออกแบบเกมรูปแบบต่างๆตามจินตนาการ**
- ครูวาดภาพสามเหลี่ยม และสี่เหลี่ยม รูปแบบต่างๆ บนบอร์ด ประกอบด้วย สามเหลี่ยมมุมฉาก สี่เหลี่ยมรูปว่าว สามเหลี่ยม 2 รูปติดกัน ฯลฯ
- ร่วมกันแสดงวิธีคิดตมความเข้าใจของตนเองและสรุปลงในกระดาษ A4
- หาพื้นที่ร่วมเฉลยคำตอบและอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับโจทย์แต่ละข้อ
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาคำทาย
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิต และหาพื้นที่ของรูปต่างๆ พร้อมนำเสนอและอภิปรายร่วมกัน
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายการหาพื้นที่รูปเรขาคณิต 2 มิติ แบบต่างๆโดยใช้ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิตพื้นฐานได้
นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน : ตัวชี้วัด ป.5/1 , ป.5/2
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.5/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.5/3
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.5/1 , ป.5/2
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล : ตัวชี้วัด ป.5/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, และ ป.5/6 |
..................................
.............................................
...........................
.........................