เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

Gallery

.....................................
Week
Input
Process
Output
Outcome












4-6
โจทย์
 - การคูณ
-  การหาร
  - ความสัมพันธ์ของการคูณ และการหาร

คำถาม
นักเรียนจะนำกระบวนการคิดของการบวก และการลบไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด จากโจทย์มุมทแยง
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด

*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้

- ครูสร้างโจทย์ปัญหาการบวก เพื่อกระตุ้นการคิด "“ มีสติ๊กเกอร์อยู่ 30 กลุ่ม กลุ่มละ ชิ้น มีสติ๊กเกอร์ทั้งหมดเท่าไร ”
- สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหาการบวก
- นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์แบบตัวเลขทั้ง 1 ชั้นและ 2 ชั้นตามลำดับความง่ายไปหายาก
- นักเรียนออกแบบและสร้างความสัมพันธ์แบบตัวเลขทั้ง 1ชั้นและ 2 ชั้น
- นักเรียนทำใบงานความสัมพันธ์แบบตัวเลข
- นักเรียนออกแบบและสร้างความสัมพันธ์ตัวเลขพร้อมอธิบายและให้เหตุผล
- ครูสร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหารที่มีความซับซ้อน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับโจทย์ปัญหานั้น พร้อมให้เหตุผล

- นักเรียนแก้โจทย์ปัญหา พร้อมแสดงวิธีการคิดและให้เหตุผล
- สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ

ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมมุมทแยง - นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนทำใบงาน

ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
ความรู้
   นักเรียนเกิดความรู้สึกเชิงจำนวน เห็นความสัมพันธ์ของการบวกและการลบสามารถแก้ปัญหาสร้างกระบวนการคิดที่หลากหลาย และวางแผนเพื่อปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน 1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน   ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน 2.2 
เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด   ตัวชี้วัด ป.3/3
มาตรฐาน 3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)  และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ป.3/3
มาตรฐาน 4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์  (mathematical  model)  อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน 5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล   ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน
  6.1 
มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6
.................
Week
Input
Process
Output
Outcome












 7
โจทย์
เศษส่วน
คำถาม
 นักเรียนจะแบ่งของแต่ละชิ้นอย่างไรให้มีส่วนที่เท่าๆ กัน?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด จากโจทย์ผลการสอบ
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้

นักเรียนสังเกตผลไม้ พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการแบ่งของแต่ละชิ้นให้มีส่วนที่เท่าๆ กัน (สื่อจริง/ปฏิบัติ)
นักเรียนแบ่งผลไม้พร้อมอ่านค่าเศษส่วน (ภาษาธรรมชาติ)
แบ่งกระดาษดินน้ำมันพร้อมอ่านค่าเศษส่วน (ภาษาธรรมชาติ)
นักเรียนวาดภาพระบายสีพร้อมอ่านค่าเศษส่วน (กึ่งรูปธรรม)
สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการอ่านค่าเศษส่วน

เปรียบเทียบเศษส่วน (มากกว่าน้อยกว่า)
- สนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเศษส่วน


ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมผลการสอบ
 - นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่และทำใบงาน

ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด 
- สรุปความเข้าใจในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ และสามารถอ่านค่าเศษส่วนได้ อีกทั้งสามารถเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่าได้  สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน  1.1  เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2
มาตรฐาน  1.2  เข้าใจอธิบายผลที่เกิดจากการบวก  การลบ  การคูณ  การหาร  การยกกำลัง  และการหารากของจำนวนเต็มและจำนวนตรรกยะ  พร้อมทั้งบอกความสัมพันธ์ของการดำเนินการของจำนวนต่างๆได้ : ตัวชี้วัด 
ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
มาตรฐาน  6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6
............................
Week
Input
Process
Output
Outcome












8-9
โจทย์
การหาพื้นที่ มิติ(สามเหลี่ยมสี่เหลี่ยม)
คำถาม
 นักเรียนจะรู้ได้อย่างไรว่าแต่ละรูปมีพื้นที่เท่าไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
ตารางข้อมูลต่างๆ
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
 ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด จากโจทย์การแก้ปัญหา
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้

- นักเรียนหาเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยมโดยการนับช่องตาราง
กระบวนการ : ทบทวนพื้นที่
 ครูนำรูปร่างเรขาคณิต (ดังภาพ) มาให้นักเรียนสังเกต  เพื่อทบทวนความเข้าใจ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด ให้นักเรียนหาพื้นที่ของรูปเหล่านี้ โดยวัดความยาวของด้าน 
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น นำเสนอวิธีคิด
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการหารเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยม
- นักเรียนหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมโดยการนับช่องตาราง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าเราจะสามารถหาเส้นรอบรูป และหาพื้นที่โดยวิธีอื่นได้หรือไม่
- นักเรียนสังเกตรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด เหมือนหรือต่างกันอย่างไรคิดว่าทั้งสองรูปมีความสัมพันธ์กันหรือไม่อย่างไร
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นความสัมพันธ์รูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม

- นักเรียนหาเส้นรอบรูป และหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมหาคำตอบ
 - นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
   - ออกแบบเครื่องมือในการสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูล
  - ออกแบบตารางในการจัดการข้อมูล
  - นำเสนอข้อมูลที่ตนเองสำรวจมา
- นักเรียนทำใบงาน

ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ และสามารถจำแนกข้อมูลต่างๆ โดยจัดรูปแบบข้อมูลในรูปแบบตารางพร้อมให้เหตุผลและนำเสนอข้อมูลของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน 5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล   ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน
  6.1 
มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6
............
Week
Input
Process
Output
Outcome












10
โจทย์
สรุปองค์ความรู้คณิต(หลังเรียน) ระดับชั้น ป.3 Quarter 4/59

คำถาม
- นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับQuarter 4 หรือตลอดปีการศึกษา?
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Wall thinking

- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศการเรียนรู้คณิต
ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด จากโจทย์ยอดนักสืบ
เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
ครูใช้คำถามกระตุ้นด้วยคำถาม นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร” และ
นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ Quarter 4 หรือตลอดปีการศึกษา?"
นักเรียนและครูร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมกันจัดนิทรรศการการ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และความเชื่อมโยงของวิชาคณิตศาสตร์กับวิชาอื่นๆ
นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน และร่วมจัดนิทรรศการถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ สรุปองค์ความรู้คณิต (หลังเรียน) ระดับชั้น ป.3 Quarter 4/59

ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมยอดนักสืบ
 - นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน

ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
ความรู้
   นักเรียนเข้าใจกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยต่างๆที่เรียนมา และสรุปองค์ความรู้ นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้

ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน 1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน   ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน 2.2 
เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด   ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน 3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)  และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ป.3/1
มาตรฐาน 4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์  (mathematical  model)  อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัด ป.3/1 , ป.3/2
มาตรฐาน 5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล   ตัวชี้วัด ป.3/1 
มาตรฐาน
  6.1 
มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, และ ป.3/6
.......

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น